วันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 4 ไฟฟ้า
เรื่อง กระแสไฟฟ้า ความต่างศักดิ์ ความต้านทาน จำนวน 1 คาบ / สัปดาห์ สอนครั้งที่ 1 วันที่..... พฤศจิกายน พ.ศ.2552 โรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียน
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวนนักเรียน..... คน
ผู้สอน นางสาวลดาวัลย์ รุ่งเรือง ค.บ.4 วิทยาศาสตร์
______________________________________________________________________________
มาตรฐานการเรียนรู้ ว.5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ
กระแสไฟฟ้าเป็นปริมาณประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่หรือถ่ายเทผ่านพื้นที่หน้าตัดขวาง จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้าแตกต่างกันของตัวนำไฟฟ้าในหนึ่งหน่วยเวลา กระแสไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ กระแสไฟฟ้าตรงและกระแสไฟฟ้าสลับ สำหรับของตัวนำไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้มากหรือน้อย เราเรียกว่า ความต้านทาน
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนจำแนกกระแสไฟฟ้า ความต่างศักดิ์ ความต้านทานได้ถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
1.นักเรียนอธิบายกระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง
2.นักเรียนอธิบายความต่างศักดิ์ ได้ถูกต้อง
3.นักเรียนอธิบายความต้านทานได้ถูกต้อง
สาระการเรียนรู้
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักดิ์ ความต้านทาน
1.กระแสไฟฟ้า
2.ความต่างศักดิ์
3.ความต้านทาน
กระบวนการเรียนรู้
1.ขั้นอธิบายกระแสไฟฟ้า
1.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
1.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่ากระแสไฟฟ้าคืออะไร
1.3 อธิบายเนื้อหากระแสไฟฟ้าบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียนการทดลองชุดกิจกรรมที่ 1 ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
1.4 ปฏิบัติภาระงานตามการทดลองชุดกิจกรรมที่ 1โดยให้ทำเป็นกลุ่ม
1.5 บูรณาการโดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่ม 1 คนไปศึกษาผลการทดลองของกลุ่มเพื่อนๆทั้ง 9 กลุ่ม แล้วบันทึกลงสมุดของตนเอง พร้อมมาชี้แจงให้เพื่อนภายในกลุ่มเข้าใจตรงกัน
1.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานหน้าห้องเรียนจาก การทดลองชุดกิจกรรมที่ 1
1.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
2.ขั้นอธิบายความต่างศักย์
2.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
2.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าความต่างศักย์คืออะไร
2.3 อธิบายเนื้อหา ความต่างศักย์บนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียนการทดลองชุดกิจกรรมที่ 2ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
2.4 ปฏิบัติภาระงานตามการทดลองชุดกิจกรรมที่ 2โดยให้ทำเป็นกลุ่ม
2.5 บูรณาการโดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่ม 1 คนไปศึกษาผลการทดลองของกลุ่มเพื่อนๆทั้ง 9 กลุ่ม แล้วบันทึกลงสมุดของตนเอง พร้อมมาชี้แจงให้เพื่อนภายในกลุ่มเข้าใจตรงกัน
2.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานหน้าห้องเรียนจาก การทดลองชุดกิจกรรมที่ 2
2.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
3.ขั้นอธิบายความต้านทาน
3.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
3.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าเซลล์ไฟฟ้าเคมีคืออะไร
3.3 อธิบายเนื้อหาเรื่องความต้านทานบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียน การทดลองชุดกิจกรรมที่ 3 ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
3.4 ปฏิบัติภาระงานตามการทดลองชุดกิจกรรมที่ 3โดยให้ทำเป็นกลุ่ม


3.5 บูรณาการโดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่ม 1 คนไปศึกษาผลการทดลองของกลุ่มเพื่อนๆทั้ง 9 กลุ่ม แล้วบันทึกลงสมุดของตนเอง พร้อมมาชี้แจงให้เพื่อนภายในกลุ่มเข้าใจตรงกัน
3.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานหน้าห้องเรียนจาก การทดลองชุดกิจกรรมที่ 3
3.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.กิจกรรมอธิบายกระแสไฟฟ้า
1.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
1.2.เนื้อหาเรื่องกระแสไฟฟ้า, คำถามจำนวน 1 คำถาม
1.3.เนื้อหาเรื่องกระแสไฟฟ้า
1.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
1.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
1.6.บัตรกำหนดเวลา
1.7.ประเมินผลสรุป
2.กิจกรรมอธิบายความต่างศักย์
2.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
2.2.เนื้อหาเรื่องความต่างศักย์, คำถามจำนวน 1 คำถาม
2.3.เนื้อหาเรื่อง ความต่างศักย์
2.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
2.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
2.6.บัตรกำหนดเวลา
2.7.ประเมินผลสรุป
3.กิจกรรมอธิบายความต้านทาน
3.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
3.2.เนื้อหาเรื่องความต้านทาน, คำถามจำนวน 1 คำถาม
3.3.เนื้อหาเรื่อง ความต้านทาน
3.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
3.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
3.6.บัตรกำหนดเวลา
3.7.ประเมินผลสรุป
การวัดและประเมินผล
การวัดผล
1.วัดผลการอธิบายกระแสไฟฟ้าด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
2.วัดผลการอธิบายความต่างศักย์ด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
3.วัดผลการอธิบายความต้านทานด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
การประเมินผล
1.ประเมินผลการอธิบายกระแสไฟฟ้าพบว่า นักเรียน ...... คน อธิบายกระแสไฟฟ้าไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องกระแสไฟฟ้าเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
2.ประเมินผลการอธิบายความต่างศักย์พบว่า นักเรียน ..... คน อธิบายความต่างศักย์ไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องความต่างศักย์เพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
3.ประเมินผลการอธิบายความต้านทานพบว่า นักเรียน ..... คน อธิบายความต้านทานไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องความต้านทานเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ...................................................... ครูผู้สอน
(นางสาวลดาวัลย์ รุ่งเรือง)
......./............/.........